น้ำมันปิโตรสังเคราะห์ (Synthetic petrol)

เชื้อเพลิงสะอาดทางเลือกหรือเชื้อเพลิงสังเคราะห์ เป็นเชื้อเพลิงที่ผลิตจากก๊าซสังเคราะห์ (ก๊าซผสมระหว่างก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์และก๊าซไฮโดรเจน) โดยวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตก๊าซสังเคราะห์ที่กำลังได้รับความสนใจในปัจจุบันคือ ชีวมวล เช่น แกลบ ซังข้าวโพด กะลาปาล์ม เศษไม้ เป็นต้น

Read more

บิวทานอลชีวภาพ (Bio-butanol)

บิวทานอลชีวภาพเป็นพลังงานทดแทนชนิดหนึ่งซึ่งจัดเป็นเชื้อเพลิงหมุนเวียนที่ดีกว่าเอทานอลชีวภาพ เนื่องจากบิวทานอลชีวภาพมีค่าออกเทนใกล้เคียงน้ำมันทำให้สามารถผสมเข้ากับน้ำมันได้ดีกว่า มีค่าพลังงาน และจุดเดือดสูงกว่าจึงสามารถขนส่งตามท่อน้ำมันและไม่มีปัญหากับเครื่องยนต์เนื่องจากไม่มีการกัดกร่อน แต่บิวทานอลชีวภาพยังไม่เป็นที่นิยมเพราะความเป็นพิษ อีกทั้งยังยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ทำให้มีความเข้มข้นที่ผลิตได้ต่ำ

Read more

เอทานอลชีวภาพ (Bio-ethanol)

เอทานอลชีวภาพเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพที่นิยมใช้สำหรับยานพาหนะ สามารถผลิตจากวัตถุดิบจากธรรมชาติ เช่น ข้าวโพด (Corn) ข้าวสาลี (Wheat crops) มันสำปะหลัง (Cassava) ฟาง (Waste straw) ต้นหลิว (Willow) ขี้เลื่อย (Sawdust) ข้าวฟ่าง (Sorghum plants) และ หญ้า (Grass)

Read more

เมทานอลชีวภาพ (Bio-methanol)

เมทานอลจัดเป็นสารประกอบแอลกอฮอล์ที่มีสูตรโมเลกุลคือ (–CH3OH) มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง สามารถเกิดการเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์ โดยไม่มีเขม่าและให้เปลวไฟสีฟ้า ซึ่งเมทานอลและเมทานอลชีวภาพ (Bio-methanol) มีองค์ประกอบและสมบัติที่คล้ายคลึงกัน แต่แตกต่างกันที่สารตั้งต้นที่นำมาใช้เป็นสารตั้งต้นในกระบวนการผลิต

Read more

ขยะมูลฝอย (Waste)

ขยะ (Waste) หมายถึง สิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและการอุปโภคซึ่งเสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้หรือไม่ต้องการใช้แล้ว จำแนกตามลักษณะของขยะ มี 4 ประเภท โดยขยะแต่ละประเภทมีแนวทางในการกำจัดที่แตกต่างกัน

Read more

ชีวมวล (Biomass)

ชีวมวลประกอบด้วยธาตุหลักๆ คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน รวมทั้งมีปริมาณของไนโตรเจนและธาตุอื่นๆ อีกเล็กน้อยในรูปแบบของคาร์โบไฮเดรตหรือเซลลูโลส

Read more

เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช (Thermoplastic starch: TPS)

เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช (Thermoplastic starch) เป็นพลาสติกชีวฐาน (Bio-based plastic) จัดอยู่ในกลุ่มที่มาจากธรรมชาติโดยตรง ไม่เป็นพิษ ย่อยสลายได้โดยการฝังกลบและโดยการกระทำของจุลินทรีย์และหาใหม่ทดแทนได้

Read more

พลาสติกชีวภาพพอลิคาร์บอเนต (Bio-Polycarbonate: Bio-PC)

Bio-PC เป็นพอลิเมอร์ที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งที่สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (Biodegradable) มีการนำไปใช้งานกันอย่างกว้างขวาง เช่น เป็นวัสดุสำหรับนำไปใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ เป็นตัวส่งผ่านยา (Drug carriers) และนำไปใช้ทางวิศวกรรมเนื้อเยื่อ (Tissue engineering)

Read more

พลาสติกชีวภาพพอลิเอทิลีน เทเรฟทาเลต (Bio-Polyethylene terephthalate: Bio-PET)

• PET สังเคราะห์ได้จากปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันระหว่างกรดเทเรฟทาลิกและเอทิลีนไกลคอล (ได้จากแหล่งเชื้อเพลิงฟอสซิล)

Read more

พลาสติกชีวภาพพอลิเอไมด์ (Bio-Polyamide: Bio-PA)

พอลิเอไมด์ (Polyamide : PA) เป็นพอลิเมอร์ที่มีกลุ่มเอไมด์ (R-CO-NH-R ') เป็นส่วนสำคัญของ พอลิเมอร์สายโซ่หลัก พอลิเอไมด์เกิดขึ้นจากกระบวนการควบแน่นของ (1) ไดเอมีนและกรดไดคาร์บอกซิลิก (2) กรด -อะมิโนคาร์บอกซิลิกเป็นโมโนเมอร์ Bifunctional และ (3) กรดอะมิโนคาร์บอกซิลิก Bifunctional โมโนเมอร์ พลาสติกชีวภาพเอไมด์ (Bio-PA) คือพลาสติกชีวภาพที่มีเอไมด์เป็นองค์ประกอบหลักรวมทั้งพลาสติกชีวภาพจากเชื้อเพลิงฟอสซิลที่สามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้ พอลิเอไมด์ (PA) 6.10 เป็นพอลิเมอร์ทางเลือกที่น่าสนใจที่สามารถนำมาทดแทนพอลิเมอร์ปิโตรเคมีที่มีอยู่ ดังนั้นเมื่อนำมาผสมกับเส้นใยธรรมชาติ พลาสติกชีวภาพเหล่านี้สามารถประยุกต์ใช้กับงานที่มีความเครียดเชิงกลสูงและมีความทนต่อความร้อนมากกว่าพอลิเอไมด์ชนิดอื่น ๆ

Read more

พลาสติกชีวภาพพอลิยูรีเทน (Bio-Polyurethane: Bio-PU)

Bio-PU เกิดจากปฏิกิริยาเคมีระหว่างไดไอโซไซยาเนต/พอลิไอโซไซยาเนต และไดออล/พอลิออล โดยใช้มอนอเมอร์จากแหล่งวัตถุดิบที่สามารถผลิตทดแทนได้ เช่น พืชและจุลินทรีย์ เป็นต้น จึงลดปัญหาการเกิดก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตมอนอเมอร์ได้ โดยแหล่งที่มาของมอนอเมอร์ อาจมาจากพอลิเมอร์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ

Read more

พลาสติกชีวภาพพอลิพรอพิลีน (Bio-Polypropylene: Bio-PP)

• พลาสติกชีวภาพพอลิพรอพิลีน (Bio-polypropylene: Bio-PP) จัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์โม-พลาสติกที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ แต่ยังมีการใช้ในงานอื่น ๆ เช่น สิ่งทอ ขวด สติกเกอร์ลูกบาศก์ และธนบัตรพอลิเมอร์ เป็นต้น

Read more

พลาสติกชีวภาพพอลิไวนิลคลอไรด์ (Bio-Polyvinyl chloride)

Bio-PVC เป็นพลาสติกชีวภาพที่ผลิตจากสารชีวภาพบางส่วน (Partially bio-based) และเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil fuel-based) จัดอยู่ในกลุ่มชนิดย่อยสลายไม่ได้ทางชีวภาพ (Nonbiodegradable) แต่บางงานวิจัยสามารถผลิต Bio-PVC จากสารชีวภาพ (Bio-based) 99% จึงสามารถจัดอยู่ในกลุ่มย่อยสลายทางชีวภาพ (Biodegradable) โดยสามารถย่อยสลายได้ภายใน 9 เดือนถึง 5 ปี โดยการฝังกลบ

Read more

พลาสติกชีวภาพพอลิเอทิลีน (Bio-Polyethylene: Bio-PE)

พอลิเอทิลีน (Polyethylene : PE) เป็นพลาสติกพื้นฐานที่มีกระบวนการผลิตสูงถึง 70 ล้านเมตริกตัน(Townsend Solutions, Townsend Annual Polyethylene Report (2010).) Polyethylene ได้ถูกนำมาใช้ครั้งแรกในอุตสาหกรรมในปี ค.ศ.1930 โดยจัดเป็นเทอร์โมพลาสติกคือมีสมบัติที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ นอกจากนี้ยังมีสมบัติเชิงที่แข็งแรงและความหนาแน่นขึ้นอยู่กับมวลโมเลกุล (Molecular weights)

Read more

พอลิบิวทิลีนอะดิเพท-โค-เทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate-co-Terephthalate)

พอลิบิวทิลีนอะดิเพท-โค-เทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate-co-Terephthalate : PBAT) เป็นพลาสติกชีวภาพที่ได้จากผลิตภัณฑ์จากแหล่งปิโตรเคมี แต่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ

Read more

    Page 4 content here

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5